หากจะกล่าวถึง ‘นักกีฬากอล์ฟไทย’ คงจะหนีไม่พ้นชื่อนี้เป็นแน่ค่ะ บทความชิ้นนี้จะพาทุกคนมาทำความรู้จักโปรหมาย ที่มี ‘ผลกอล์ฟ’ ที่ไม่ธรรมดาเลยทีเดียว บทความชิ้นนี้จะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับโปรหมายกันค่ะ จะเป็นอย่างไรนั้นมาดูกันเลย
“โปรหมาย ประหยัด” นักกีฬากอล์ฟชายชาวไทย สามารถทำสกอร์ รวม4วัน มี 9 อันเดอร์พาร์ 275 คว้าแชมป์กอล์ฟสิงคโปร์ โอเพ่นไปได้ครองสำเร็จ
สำหรับการแข่งขันกอล์ฟทัวร์ผสม เอเชี่ยน ทัวร์ และ เจแปน ทัวร์ ในรายการเอสเอ็มบีซี สิงคโปร์ โอเพ่น ณ เซนโตซ่า ประเทศสิงคโปร์ ซึ่ง“โปรหมาย” ประหยัด มากแสง ได้ทำสกอร์รวมเมื่อวานนี้ 5 อันเดอร์ ตามหลัง ถิระวัฒน์ แก้วศิริบัณฑิต และ พชร คงวัดใหม่ 2 นักกอล์ฟไทย ซึ่งเป็นผู้นำร่วมหลังจบวันที่ 3 อยู่ 3 สโตรค นอกจากนี้โปรหมายยังได้ ชิงเงินรางวัลประมาณ 35 ล้านบาทเลยทีเดียวค่ะ
สำหรับในการแข่งขันทัวร์นาเม้นต์นี้ โปรหมายสามารถทำ 5 เบอร์ดี้ โดยเสียไป 1 โบกี้ และเก็บเพิ่มอีก 4 อันเดอร์ สกอร์รวม 4 วันมี 9 อันเดอร์พาร์ 275 แซงจากอันดับ 12 ขึ้นมาเป็นแชมป์เอเชี่ยนทัวร์รายการที่ 10 เป็นแชมป์เจแปนทัวร์ รายการที่ 6 ในการเล่นอาชีพของโปรหมายอีกด้วย นอกจากนี้ ‘โปรหมาย’ สิทธิ์เล่นเมเจอร์รายการแรกของปี บริติช โอเพ่น ที่ประเทศอังกฤษ
เปิดประวัติ ‘โปรหมาย’ ที่ทำ ผลกอล์ฟ จนได้แชมป์สิงค์โปร ?

ประหยัด มากแสง หรือ โปรหมาย เป็นนักกอล์ฟชาวไทย ปัจจุบันเล่นอยู่ในเจแปน ซีเนียร์ ทัวร์ เริ่มเล่นกอล์ฟตั้งแต่อายุ 14 ปีและเล่นอาชีพตั้งแต่ พ.ศ. 2534 และมี ผลกอล์ฟ เป็นแชมป์มาแล้ว 48 รายการเลยทีเดียวค่ะ
นอกจากนี้โปรประหยัดได้เคยร่วมการแข่งขันรายการเมเจอร์ครั้งแรกในรายการบริติชโอเพน ในปีค.ศ. 1999 และได้รับเชิญเข้าร่วมการแข่งขัน “เดอะ มาสเตอร์ส” ยูเอสมาสเตอร์ส 2008 ที่สนามออกัสตา ระหว่างวันที่ 10-13 เมษายน พ.ศ. 2551 นับเป็นคนไทยคนที่สามที่ได้ร่วมแข่งในรายการนี้อีกด้ว
รวมถึงประหยัดเป็นนักกอล์ฟอาวุโสคนแรกที่สามารถคว้าแชมป์ เจแปน ซีเนียร์โอเพ่น กอล์ฟแชมเปี้ยนชิพ 3 ปีติดต่อกันได้สำเร็จ ในพ.ศ. 2559-2561 เลยทีเดียว ซึ่งเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2562 ประหยัดสามารถคว้าแชมป์ มารุฮาน คัพ ใน เจแปน ซีเนียร์ ทัวร์ ได้เป็นสมัยที่ 3 อีกด้วย
23 นักกอล์ฟไทยร่วมดวลวงสวิงรายการเอสเอ็มบีซี สิงคโปร์ โอเพน แล้วรายการสิงค์โปร โอเพ่น คือ?

ประเทศไทยยังมี 23 นักกอล์ฟไทยร่วมดวลวงสวิงรายการเอสเอ็มบีซี สิงคโปร์ โอเพน นอกเหนือจากโปรประหยัด มากแสง แล้วยังมีนายถาวร วิรัตน์จันทร์ ได้ร่วมลงชิงชัยในครั้งนี้มี 23 คน นำโดย ถาวร วิรัตน์จันทร์ เจ้าของแชมป์เอเชียนทัวร์ 18 รายการ และอดีตแชมป์รายการนี้เมื่อ 16 ปีก่อน , ปวิธ ตั้งกมลประเสริฐ, ฐิติพรรษ์ ช่วยประคอง, แดนไท บุญมา, เนติพงศ์ ศรีทอง, พชร คงวัดใหม่, ปิยะ สว่างอรุณพร, ธันยากร ครองผา, ภาณุพล พิทยารัฐ, พรหม มีสวัสดิ์, ประหยัด มากแสง, ชัพชัย นิราช, สุทธิเจตน์ คูห์รัตนพิศาล, รฐนน วรรณศรีจันทร์, อิทธิพัทธ์ บูรณธัญรัตน์, สุรดิษ ยงค์เจริญชัย, รัฐธีร์ ศิริธนากุลศักดิ์, กัญจน์ เจริญกุล, ขวัญชัย แท่นนิล, ชินรัตน์ ผดุงศิลป์, นำโชค ตันติโภคากุล, เชาวลิต ผลาผล และ กัมลาศ นาเมืองรักษ์ (สมัครเล่น)เพื่อเตรียมสำหรับลงแข่งขันกอล์ฟเอเชียนทัวร์ และเจแปนทัวร์ รายการเอสเอ็มบีซี โอเพน ชิงเงินรางวัล 1 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 35 ล้านบาท) ที่สนามเซนโตซา กอล์ฟคลับ เซราปง คอร์ส ประเทศสิงคโปร์
นอกจากนี้นักกอล์ฟระดับแถวหน้าของโลกอย่าง อดัม สกอตต์ มืออันดับ 7 ของโลกจากออสเตรเลีย และแชมป์รายการนี้ 3 สมัย เออร์นี่ เอลส์ เจ้าของ 4 แชมป์เมเจอร์จากแอฟริกาใต้ และเซอร์จิ โอ การ์เซีย จากสเปนร่วมดวลวงสวิง นอกจากนี้ยังมีดาวดังจากเวทีเอเชียนทัวร์ และเจแปนทัวร์ อีกมากมายเลยทีเดียวค่ะ
สำหรับทัวร์นาเม้นต์ Singapore Open ได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2504 และเป็นหนึ่งในการแข่งขันในฤดูกาลแรกของ Far East Circuit และยังคงเป็นส่วนหนึ่งของวงจรเอเชีย 1993 จนถึงเมื่อมันกลายเป็นอุปกรณ์ติดตั้งในที่เซียนทัวร์ หลังจากผ่านไปเพียง 3 ฤดูกาลก็ออกจากการแข่งขันออสตราเลเชียนทัวร์เพื่อเข้าร่วม Asian Tour สำหรับฤดูกาลที่สองของทัวร์นั้นในปี พ.ศ. 2539 เหตุการณ์นี้ยังได้รับการอนุมัติร่วมกับEuropean Tourตั้งแต่ปี 2552ถึง 2555 และกับญี่ปุ่น กอล์ฟทัวร์ตั้งแต่ปี 2559
ทว่าในปี 2002 งานนี้ถูกยกเลิกเพราะขาดสปอนเซอร์ จนกระทั่งปี 2005 เมื่อสปอนเซอร์ได้รับความปลอดภัยจากการพักผ่อนของกลุ่มเกาะเซนโตซ่า กองทุนรางวัลปี 2005 เป็น$ 2 ล้านซึ่งทำให้สิงคโปร์เปิดกว้างกว่าเดิม ทั้งนี้ ผู้บริหารระดับสูงของ Asian Tour หลุยส์มาร์ตินอ้างว่าเมื่อมีการประกาศการคืนชีพของทัวร์นาเมนต์ว่า “การแข่งขันเพื่อชิงเงินรางวัล 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐจะทำให้การเป็นสมาชิกการเล่นของเราได้รับการสนับสนุนอย่างมากและยกระดับเอเชียนทัวร์ไปสู่ระดับใหม่” เหตุการณ์ในปี 2548 เล่นในเดือนกันยายน
ต่อมาในปี 2549 สิงคโปร์โอเพ่นเสนอกระเป๋าเงิน 3 ล้านเหรียญสหรัฐพร้อมส่วนแบ่งผู้ชนะ 475,000 เหรียญสหรัฐ ในเดือนพฤษภาคม 2549 มีการประกาศว่าธนาคาร Barclaysจะให้การสนับสนุนการจัดงานเป็นเวลาห้าปีนับจากปี 2549 และเงินรางวัลจะเพิ่มเป็น 4 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2550 และ 5 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2551 ในปี 2554 กระเป๋าเงินอยู่ที่ 6,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ จวบจนการแข่งขันทัวร์นาเม้นต์ได้กลับมาในเดือนมกราคม 2016 กรณีที่มีการร่วมตามทำนองคลองธรรมเอเชียนทัวร์และญี่ปุ่นกอล์ฟทัวร์ มีธนาคาร Sumitomo Mitsuiเป็นผู้สนับสนุนหลักและมีกระเป๋าเงิน 1 ล้านเหรียญสหรัฐเลยทีเดียวค่ะ
นับได้ว่าโปรหมายเป็นหนึ่งในนักกีฬากอล์ฟที่ได้ทำ ‘ผลกอล์ฟ’ จนสามารถครองแชมป์ได้จากหลายๆทัวร์นาเม้นต์ ไม่เพียงแต่แค่สิงค์โปรทัวร์โอเพ่นทัวร์นาเม้นต์เท่านั้น หากแต่ยังครองอีกๆหลายๆรายการเลยทีเดียวค่ะ นอกจากนี้ประเทศไทยยังได้แสดงศักยภาพด้านกีฬาให้ต่างชาติและทั่วโลกได้ยอมรับในวงกว้าง
การเล่นกอล์ฟไม่เพียงแต่ต้องอาศัยทักษะเท่านั้น หากยังต้องอาศัยระยะเวลาเป็นเครื่องพิสูจน์ตัวของนักกีฬาอีกด้วยค่ะ ความสามารถต้องไปควบคู่กับพรแสวง ดังนั้นจึงถูกเรียกว่า ‘พรสวรรค์’
หากใครที่สนใจอยากลองเล่นกีฬากอล์ฟสามารถไปเริ่มต้นเป็นมือสมัครเล่นกันก่อนค่ะไม่แน่ว่าบางทีอาจจะชอบจนสามารถไต่ระดับการเล่นกอล์ฟ และกลายเป็นนักกีฬามืออาชีพได้เลยค่ะ ไปลองเล่นกันได้เลยค่ะ